messager
 
องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ verified_user ข้อมูลการติดต่อ volume_down เชิญตอบแบบประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
place สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ

info_outline ยุทธศาสตร์-วิสัยทัศน์และพันธกิจ
วิสัยทัศน์หน่วยงานวิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น (Vision) วิสัยทัศน์ “พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมพื้นที่ ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง ดำรงไว้ซึ่งมาตรฐานบริหารจัดการที่ดี” ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.1 พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน 1.2 พัฒนาจัดหาและแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนาการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว 2.1 ส่งเสริมและสืบสานประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.2 สนับสนุนด้านการท่องเที่ยว 2.3 สนับสนุนการพึงพาตนเองได้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขัน 3.1 สนับสนุนการศึกษา 3.2 สนับสนุนการให้บริการสุขภาพอนามัย 3.3 ส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ 3.4 งานสังคมสงเคราะห์การแก้ไขปัญหาเด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการอย่างสมดุลและยั่งยืน 4.1 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ รัก หวงแหนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า 4.2 เพิ่มพูนที่ความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทรัพยากร ป่าไม้ แหล่งน้ำ ลำธาร 4.3 วางแผนและบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลและความมั่นคง 5.1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน 5.2 การพัฒนาป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รักษาความสงบเรียบร้อย 5.3 ส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 5.4 พัฒนาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.5 บริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาด้านการเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 ปรับปรุงระบบการให้บริการให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วและพึงพอใจ 6.2 พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยี 6.3 จัดหาและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และสถานที่ในการให้บริการ กลยุทธ์ (พันธกิจ) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของตำบลธาตุ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความสำคัญกับการวางบทบาทการพัฒนาตำบลธาตุในอนาคตอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาชน รวมทั้งสอดคล้องกับศักยภาพและบทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อที่จะให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด ดังนั้น จึงได้กำหนดกลยุทธ์ ดังนี้ 1. พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน จัดหาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร 2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ และการทำนุบำรุงรักษาศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ รักหวงแหนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า มีการวางแผนและบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ 5. การบริหารจัดการที่ดี และส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น 6. พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
วิสัยทัศน์หน่วยงาน
วิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น (Vision)
 
วิสัยทัศน์
 
“พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมพื้นที่  ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม  น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง  ดำรงไว้ซึ่งมาตรฐานบริหารจัดการที่ดี”
 
ยุทธศาสตร์
    
            ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
      1.1  พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน
 
      1.2  พัฒนาจัดหาและแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
 
            ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนาการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
 
      2.1  ส่งเสริมและสืบสานประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
      2.2  สนับสนุนด้านการท่องเที่ยว
 
      2.3  สนับสนุนการพึงพาตนเองได้
 
           ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขัน
 
      3.1  สนับสนุนการศึกษา
 
      3.2  สนับสนุนการให้บริการสุขภาพอนามัย
 
      3.3  ส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ
 
      3.4  งานสังคมสงเคราะห์การแก้ไขปัญหาเด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม
 
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการอย่างสมดุลและยั่งยืน
 
       4.1  ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ รัก หวงแหนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า
 
       4.2  เพิ่มพูนที่ความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทรัพยากร ป่าไม้ แหล่งน้ำ ลำธาร
 
       4.3  วางแผนและบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ
 
 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลและความมั่นคง
 
        5.1  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน
 
        5.2  การพัฒนาป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รักษาความสงบเรียบร้อย
 
        5.3  ส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
 
        5.4  พัฒนาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 
        5.5  บริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ
 
        ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาด้านการเทคโนโลยีสารสนเทศ
  
       6.1  ปรับปรุงระบบการให้บริการให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วและพึงพอใจ
 
       6.2  พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยี
 
       6.3  จัดหาและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และสถานที่ในการให้บริการ
 
กลยุทธ์ (พันธกิจ)
 
             เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของตำบลธาตุ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความสำคัญกับการวางบทบาทการพัฒนาตำบลธาตุในอนาคตอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาชน รวมทั้งสอดคล้องกับศักยภาพและบทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อที่จะให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด ดังนั้น จึงได้กำหนดกลยุทธ์ ดังนี้
 
          1. พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน จัดหาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
 
          2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน
 
        3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ และการทำนุบำรุงรักษาศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
        4. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ รักหวงแหนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า มีการวางแผนและบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ
 
           5. การบริหารจัดการที่ดี และส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น
 
           6. พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย

 

ยุทธศาสตร์-วิสัยทัศน์และพันธกิจ
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น (Vision) วิสัยทัศน์ “พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมพื้นที่ ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง ดำรงไว้ซึ่งมาตรฐานบริหารจัดการที่ดี” ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.1 พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน 1.2 พัฒนาจัดหาและแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนาการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว 2.1 ส่งเสริมและสืบสานประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.2 สนับสนุนด้านการท่องเที่ยว 2.3 สนับสนุนการพึงพาตนเองได้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขัน 3.1 สนับสนุนการศึกษา 3.2 สนับสนุนการให้บริการสุขภาพอนามัย 3.3 ส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ 3.4 งานสังคมสงเคราะห์การแก้ไขปัญหาเด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการอย่างสมดุลและยั่งยืน 4.1 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ รัก หวงแหนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า 4.2 เพิ่มพูนที่ความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทรัพยากร ป่าไม้ แหล่งน้ำ ลำธาร 4.3 วางแผนและบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลและความมั่นคง 5.1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน 5.2 การพัฒนาป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รักษาความสงบเรียบร้อย 5.3 ส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 5.4 พัฒนาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.5 บริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาด้านการเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 ปรับปรุงระบบการให้บริการให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วและพึงพอใจ 6.2 พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยี 6.3 จัดหาและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และสถานที่ในการให้บริการ กลยุทธ์ (พันธกิจ) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของตำบลธาตุ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความสำคัญกับการวางบทบาทการพัฒนาตำบลธาตุในอนาคตอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาชน รวมทั้งสอดคล้องกับศักยภาพและบทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อที่จะให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด ดังนั้น จึงได้กำหนดกลยุทธ์ ดังนี้ 1. พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน จัดหาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร 2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ และการทำนุบำรุงรักษาศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ รักหวงแหนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า มีการวางแผนและบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ 5. การบริหารจัดการที่ดี และส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น 6. พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น (Vision)
 
วิสัยทัศน์
 
“พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมพื้นที่  ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม  น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง  ดำรงไว้ซึ่งมาตรฐานบริหารจัดการที่ดี”
 
ยุทธศาสตร์
    
            ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
      1.1  พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน
 
      1.2  พัฒนาจัดหาและแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
 
            ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนาการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
 
      2.1  ส่งเสริมและสืบสานประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
      2.2  สนับสนุนด้านการท่องเที่ยว
 
      2.3  สนับสนุนการพึงพาตนเองได้
 
           ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขัน
 
      3.1  สนับสนุนการศึกษา
 
      3.2  สนับสนุนการให้บริการสุขภาพอนามัย
 
      3.3  ส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ
 
      3.4  งานสังคมสงเคราะห์การแก้ไขปัญหาเด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม
 
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการอย่างสมดุลและยั่งยืน
 
       4.1  ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ รัก หวงแหนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า
 
       4.2  เพิ่มพูนที่ความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทรัพยากร ป่าไม้ แหล่งน้ำ ลำธาร
 
       4.3  วางแผนและบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ
 
 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลและความมั่นคง
 
        5.1  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน
 
        5.2  การพัฒนาป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รักษาความสงบเรียบร้อย
 
        5.3  ส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
 
        5.4  พัฒนาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 
        5.5  บริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ
 
        ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาด้านการเทคโนโลยีสารสนเทศ
  
       6.1  ปรับปรุงระบบการให้บริการให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วและพึงพอใจ
 
       6.2  พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยี
 
       6.3  จัดหาและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และสถานที่ในการให้บริการ
 
กลยุทธ์ (พันธกิจ)
 
             เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของตำบลธาตุ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความสำคัญกับการวางบทบาทการพัฒนาตำบลธาตุในอนาคตอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาชน รวมทั้งสอดคล้องกับศักยภาพและบทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อที่จะให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด ดังนั้น จึงได้กำหนดกลยุทธ์ ดังนี้
 
          1. พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน จัดหาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
 
          2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน
 
        3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ และการทำนุบำรุงรักษาศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
        4. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ รักหวงแหนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า มีการวางแผนและบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ
 
           5. การบริหารจัดการที่ดี และส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น
 
           6. พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย

 

place ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน สภาพทั่วไป ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ ตั้งอยู่ที่บ้านธาตุ ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ระยะห่างจากอำเภอวานรนิวาส 11 กิโลเมตร เนื้อที่ องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 130 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 81,250 ไร่ และมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้ คือ - ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลคูสะคาม อำเภอวานรนิวาส - ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลศรีวิชัย อำเภอวานรนิวาส - ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส - ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลโคกศิลา อำเภอเจริญศิลป์ ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศตำบลธาตุ มีภูมิประเทศทางกายภาพทางตอนเหนือลาดต่ำลงสู่ตอนล่างของตำบล สภาพพื้นที่ทางตอนเหนือเป็นที่ลุ่มสลับกับที่ดอน ลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลึก ส่วนทางตอนใต้พื้นที่เป็นที่ลุ่มและลูกคลื่นลอนตื้นสลับเป็นบางส่วน จำนวนหมู่บ้าน มีทั้งหมด 22 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านธาตุ หมู่ที่ 2 บ้านตาลเดี่ยว หมู่ที่ 3 บ้านหนองตากวย หมู่ที่ 4 บ้านท่าเยี่ยม หมู่ที่ 5 บ้านโนนคอม หมู่ที่ 6 บ้านโนนแต้ หมู่ที่ 7 บ้านท่าศรีไคล หมู่ที่ 8 บ้านนาอวนน้อย หมู่ที่ 9 บ้านหนองฮาง หมู่ที่ 10 บ้านวังหว้า หมู่ที่ 11 บ้านโคกสว่าง หมู่ที่ 12 บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 13 บ้านห้วยไร่ หมู่ที่ 14 บ้านธาตุใหม่พัฒนา หมู่ที่ 15 บ้านหนองฮางน้อย หมู่ที่ 16 บ้านท่าศรีไคลใหม่ หมู่ที่ 17 บ้านนาสมบูรณ์ หมู่ที่ 18 บ้านวังน้ำเย็น หมู่ที่ 19 บ้านวังใหม่ หมู่ที่ 20 บ้านหนองนาแซง หมู่ที่ 21 บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 22 บ้านนาอวนน้อย จำนวนประชากร ประชากรทั้งสิ้น 14,444 คน แยกเป็นชาย 7,114 คน หญิง 7,330 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 111 คน / ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือน 4,121 ครัวเรือน
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

 สภาพทั่วไป

                ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ ตั้งอยู่ที่บ้านธาตุ ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ระยะห่างจากอำเภอวานรนิวาส 11 กิโลเมตร
เนื้อที่ องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 130 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 81,250 ไร่ และมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้ คือ
- ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลคูสะคาม อำเภอวานรนิวาส
- ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลศรีวิชัย อำเภอวานรนิวาส
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลโคกศิลา อำเภอเจริญศิลป์ 
ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศตำบลธาตุ มีภูมิประเทศทางกายภาพทางตอนเหนือลาดต่ำลงสู่ตอนล่างของตำบล สภาพพื้นที่ทางตอนเหนือเป็นที่ลุ่มสลับกับที่ดอน ลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลึก ส่วนทางตอนใต้พื้นที่เป็นที่ลุ่มและลูกคลื่นลอนตื้นสลับเป็นบางส่วน
จำนวนหมู่บ้าน มีทั้งหมด 22 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านธาตุ
 
หมู่ที่ 2 บ้านตาลเดี่ยว
 
หมู่ที่ 3 บ้านหนองตากวย
 
หมู่ที่ 4 บ้านท่าเยี่ยม
 
หมู่ที่ 5 บ้านโนนคอม
 
หมู่ที่ 6 บ้านโนนแต้
 
หมู่ที่ 7 บ้านท่าศรีไคล
 
หมู่ที่ 8 บ้านนาอวนน้อย
 
หมู่ที่ 9 บ้านหนองฮาง
 
หมู่ที่ 10 บ้านวังหว้า
 
หมู่ที่ 11 บ้านโคกสว่าง
 
หมู่ที่ 12 บ้านโคกกลาง
 
หมู่ที่ 13 บ้านห้วยไร่
 
หมู่ที่ 14 บ้านธาตุใหม่พัฒนา
 
หมู่ที่ 15 บ้านหนองฮางน้อย
 
หมู่ที่ 16 บ้านท่าศรีไคลใหม่
 
หมู่ที่ 17 บ้านนาสมบูรณ์
 
หมู่ที่ 18 บ้านวังน้ำเย็น
 
หมู่ที่ 19 บ้านวังใหม่
 
หมู่ที่ 20 บ้านหนองนาแซง
 
หมู่ที่ 21 บ้านโคกกลาง
 
หมู่ที่ 22 บ้านนาอวนน้อย
 
จำนวนประชากร ประชากรทั้งสิ้น 14,307 คน แยกเป็นชาย 7,109 คน หญิง 7,198 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 110 คน / ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือน 3,496 ครัวเรือน
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

สภาพทั่วไป ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ ตั้งอยู่ที่บ้านธาตุ ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ระยะห่างจากอำเภอวานรนิวาส 11 กิโลเมตร เนื้อที่ องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 130 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 81,250 ไร่ และมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้ คือ - ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลคูสะคาม อำเภอวานรนิวาส - ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลศรีวิชัย อำเภอวานรนิวาส - ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส - ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลโคกศิลา อำเภอเจริญศิลป์ ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศตำบลธาตุ มีภูมิประเทศทางกายภาพทางตอนเหนือลาดต่ำลงสู่ตอนล่างของตำบล สภาพพื้นที่ทางตอนเหนือเป็นที่ลุ่มสลับกับที่ดอน ลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลึก ส่วนทางตอนใต้พื้นที่เป็นที่ลุ่มและลูกคลื่นลอนตื้นสลับเป็นบางส่วน จำนวนหมู่บ้าน มีทั้งหมด 22 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านธาตุ หมู่ที่ 2 บ้านตาลเดี่ยว หมู่ที่ 3 บ้านหนองตากวย หมู่ที่ 4 บ้านท่าเยี่ยม หมู่ที่ 5 บ้านโนนคอม หมู่ที่ 6 บ้านโนนแต้ หมู่ที่ 7 บ้านท่าศรีไคล หมู่ที่ 8 บ้านนาอวนน้อย หมู่ที่ 9 บ้านหนองฮาง หมู่ที่ 10 บ้านวังหว้า หมู่ที่ 11 บ้านโคกสว่าง หมู่ที่ 12 บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 13 บ้านห้วยไร่ หมู่ที่ 14 บ้านธาตุใหม่พัฒนา หมู่ที่ 15 บ้านหนองฮางน้อย หมู่ที่ 16 บ้านท่าศรีไคลใหม่ หมู่ที่ 17 บ้านนาสมบูรณ์ หมู่ที่ 18 บ้านวังน้ำเย็น หมู่ที่ 19 บ้านวังใหม่ หมู่ที่ 20 บ้านหนองนาแซง หมู่ที่ 21 บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 22 บ้านนาอวนน้อย จำนวนประชากร ประชากรทั้งสิ้น 14,444 คน แยกเป็นชาย 7,114 คน หญิง 7,330 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 111 คน / ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือน 4,121 ครัวเรือน
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

 สภาพทั่วไป

                ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ ตั้งอยู่ที่บ้านธาตุ ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ระยะห่างจากอำเภอวานรนิวาส 11 กิโลเมตร
เนื้อที่ องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 130 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 81,250 ไร่ และมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้ คือ
- ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลคูสะคาม อำเภอวานรนิวาส
- ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลศรีวิชัย อำเภอวานรนิวาส
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลโคกศิลา อำเภอเจริญศิลป์ 
ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศตำบลธาตุ มีภูมิประเทศทางกายภาพทางตอนเหนือลาดต่ำลงสู่ตอนล่างของตำบล สภาพพื้นที่ทางตอนเหนือเป็นที่ลุ่มสลับกับที่ดอน ลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลึก ส่วนทางตอนใต้พื้นที่เป็นที่ลุ่มและลูกคลื่นลอนตื้นสลับเป็นบางส่วน
จำนวนหมู่บ้าน มีทั้งหมด 22 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านธาตุ
 
หมู่ที่ 2 บ้านตาลเดี่ยว
 
หมู่ที่ 3 บ้านหนองตากวย
 
หมู่ที่ 4 บ้านท่าเยี่ยม
 
หมู่ที่ 5 บ้านโนนคอม
 
หมู่ที่ 6 บ้านโนนแต้
 
หมู่ที่ 7 บ้านท่าศรีไคล
 
หมู่ที่ 8 บ้านนาอวนน้อย
 
หมู่ที่ 9 บ้านหนองฮาง
 
หมู่ที่ 10 บ้านวังหว้า
 
หมู่ที่ 11 บ้านโคกสว่าง
 
หมู่ที่ 12 บ้านโคกกลาง
 
หมู่ที่ 13 บ้านห้วยไร่
 
หมู่ที่ 14 บ้านธาตุใหม่พัฒนา
 
หมู่ที่ 15 บ้านหนองฮางน้อย
 
หมู่ที่ 16 บ้านท่าศรีไคลใหม่
 
หมู่ที่ 17 บ้านนาสมบูรณ์
 
หมู่ที่ 18 บ้านวังน้ำเย็น
 
หมู่ที่ 19 บ้านวังใหม่
 
หมู่ที่ 20 บ้านหนองนาแซง
 
หมู่ที่ 21 บ้านโคกกลาง
 
หมู่ที่ 22 บ้านนาอวนน้อย
 
จำนวนประชากร ประชากรทั้งสิ้น 14,307 คน แยกเป็นชาย 7,109 คน หญิง 7,198 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 110 คน / ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือน 3,496 ครัวเรือน